ศูนย์ศึกษาพุทธปรัชญา

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

 

Description: 2018-06-26 10

 

เว็บไซต์นี้ก่อตั้งโดย ศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา เมื่อวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๑ เป็นเว็บไซต์กึ่งส่วนตัวและกึ่งของหน่วยงาน ศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา เมื่อเกษียณอายุราชการจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี ๒๕๕๙ แล้ว ได้มาทำงานที่มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในฐานะอาจารย์ประจำเต็มเวลา ทางด้านปรัชญา และในฐานะผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาพุทธปรัชญา ของมหาวิทยาลัย ศูนย์นี้ไม่ได้จัดตั้งอย่างเป็นทางการ แต่เป็นงานที่ทางมหาวิทยาลัยรับทราบ ยินดีให้กำลังใจ และการสนับสนุน ในรูปของการเป็นศูนย์ที่ผูกติดกับบุคคลคือศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา ด้วยความเชื่อว่า หากบุคลากรของมหาวิทยาลัยมีความตั้งใจทำงานทางวิชาการเพื่อเผยแพร่แก่สาธารณะ แล้วปล่อยให้งานก้าวหน้าไปอย่างเป็นธรรมชาติ โดยมหาวิทยาลัยดูแลให้กำลังใจและการสนับสนุนอยู่ห่างๆ อาจเป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยให้ทั้งบุคลากรและมหาวิทยาลัยทำงานเพื่อสังคมได้คล่องตัว เว็บไซต์นี้ผู้รับผิดชอบคือศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา ความคิดเห็นและงานที่ปรากฏในเว็บไซต์นี้มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยรับทราบและสนับสนุนในฐานะงานของบุคลากรของมหาวิทยาลัย โดยความรับผิดชอบหลักเป็นของผู้จัดทำ

 

ประวัติและงานโดยย่อ ของศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา

 

สำรวจปรัชญาตะวันตกอย่างย่อๆ

 

ตอนที่หนึ่ง : โสกราตีส-เพลโต-อาริสโตเติล

ตอนที่สอง : ออกัสติน-อะไควนัส

ตอนที่สาม : เฮเกล-มาร์กซ์

ตอนที่สี่ : จอห์น ล็อค-เดวิด ฮูม

ตอนที่ห้า : อิมมานูเอล คานต์-จอห์น รอลส์

ตอนที่หก : เดส์การ์ตส์-สปิโนซา

 

คำบรรยายรวมปรัชญาหลักสูตรใหม่ ๒๕๖๓-๒๕๖๗

 

การเรียนปรัชญาที่มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

อารมณ์กับเหตุผล

การตีความคำสอนพุทธศาสนา ตอนที่หนึ่ง

อารมณ์กับเหตุผลในทัศนะของคานต์

การตีความคำสอนพุทธศาสนา ตอนที่สอง

เหตุผลกับอารมณ์ในทัศนะของพระพุทธเจ้า

คำบรรยายวิชาอภิปรัชญาตอนที่หนึ่ง

คำบรรยายวิชาอภิปรัชญาตอนที่สอง

คำบรรยายวิชาอภิปรัชญาตอนที่สาม

คำบรรยายวิชาอภิปรัชญาตอนที่สี่

คำบรรยายวิชาอภิปรัชญาตอนที่ห้า

คำบรรยายวิชาอภิปรัชญาตอนที่หก

คำบรรยายวิชาอภิปรัชญาตอนที่เจ็ด

คำบรรยายวิชาอภิปรัชญาตอนที่แปด

คำบรรยายวิชาอภิปรัชญาตอนที่เก้า

คำบรรยายวิชาอภิปรัชญาตอนที่สิบ

อ่านโลกและชีวิต

ปฏิบัตินิยมของวิลเลียม เจมส์

การตีความด้วยการวิเคราะห์ภาษาตอนที่หนึ่ง

การตีความด้วยการวิเคราะห์ภาษาตอนที่สอง

คน ศาสนา สงคราม และสันติภาพ

ไดอะเล็กติกส์ของพระพุทธเจ้า

คำบรรยายวิชาการเขียนงานทางปรัชญา ตอนที่หนึ่ง

คำบรรยายวิชาการเขียนงานทางปรัชญา ตอนที่สอง

คำบรรยายวิชาการเขียนงานทางปรัชญา ตอนที่สาม

คำบรรยายวิชาการเขียนงานทางปรัชญา ตอนที่สี่

คำบรรยายวิชาการเขียนงานทางปรัชญา ภาคสอง ตอนที่หนึ่ง

คำบรรยายวิชาการเขียนงานทางปรัชญา ภาคสอง ตอนที่สอง

คำบรรยายวิชาการเขียนงานทางปรัชญา ภาคสอง ตอนที่สาม

ศาสนา วิทยาศาสตร์ และชีวิตของเรา ตอนที่หนึ่ง

ศาสนา วิทยาศาสตร์ และชีวิตของเรา ตอนที่สอง

การใช้เหตุผลของพระพุทธเจ้า ตอนที่หนึ่ง

การใช้เหตุผลของพระพุทธเจ้าตอนที่สอง

บางส่วนจากงานวิจัยเรื่อง “ชีวิตที่ดีในทัศนะของพระพุทธเจ้า (๑)

เราควรปฏิบัติต่อคัมภีร์ศาสนาอย่างไร ตอนที่หนึ่ง

ดุจกระจกส่องหนุนกันและกัน

 The Purpose of Marriage

ประชาธิปไตย คนจน คนรวย และความสมดุล

ความยุติธรรมคืออะไร

ความยุติธรรมในทัศนะของอาริสโตเติลและพระพุทธเจ้า

การสร้างจารีตทางปรัชญาในสำนักมหาจุฬา

พระพุทธเจ้าในทัศนะของผม

คำแนะนำสั้นๆเรื่องการวิจัยทางปรัชญาและศาสนา

ปรัชญาวิทยาศาสตร์โดยทั่วไป

คุณูปการของพระพุทธศาสนาต่อวงการปรัชญาโลก

การวิจารณ์ศาสนาโดยวิทยาศาสตร์

การแก้ปัญหาจริยธรรมภาคปฏิบัติในสังคมพุทธ

ขุมทรัพย์ทางปัญญานามว่าพระไตรปิฎก

การศึกษาศาสนาด้วยแนวคิดทางปรัชญาสี่แบบ

บางตอนของหนังสือ Being and Nothingness ของ Jean-Paul Sartre ตามที่ผมเข้าใจ

ปรัชญา ความงาม และสุนทรียศาสตร์

พุทธศาสนากับปัญญาประดิษฐ์ (AI)

จะตีความพระไตรปิฎกอย่างไรดี ตอนที่หนึ่ง

จะตีความพระไตรปิฎกอย่างไรดี ตอนที่สอง

อภิธรรมคืออะไร

อภิธรรม จิต และสมอง

อภิธรรม เวลา อวกาศ และจักรวาล

อนุรักษ์นิยมและเสรีนิยมกับการแก้ปัญหาจริยธรรม

พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ ตอนที่หนึ่ง

สนทนาเรื่องจริยศาสตร์สิ่งแวดล้อม

งานวิจัยสามเรื่อง

กฎหมายกับศีลธรรม

ศรัทธากับปัญญา

พุทธศาสนากับจริยธรรมทางเพศ

เครื่องจักรสามารถคิดได้เหมือนมนุษย์หรือไม่

 

เอกสารประกอบคำบรรยาย

วิชาพระพุทธศาสนากับการใช้เหตุผล

 

 

เอกสารที่หนึ่ง

เอกสารที่สอง

เอกสารที่สาม

 

Letters to MCU Philosophy Students

 

 

Letter 01

Letter 02

Letter 03

Letter 04 (จดหมายเปิดผนึกถึงมหาเถรสมาคม)

 

 

The First Draft Journal

of Philosophy, Religion, Science, and Art

 

 

Issue 1, 2020

Issue 2, 2020

Issue 3, 2020

 

 

วารสารก้าวแรก

 

 

ฉบับที่ ๑ ปี ๒๕๖๓

ฉบับที่ ๒ ปี ๒๕๖๓

 

 

Description: 2018-06-26 12

การบรรยายวิชาปรัชญาวิทยาศาสตร์

โดย ศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา

ภาคการศึกษาปลาย ๒๕๖๐

 

ตอนที่หนึ่ง : แนวคิดเบื้องต้นที่สำคัญในปรัชญาวิทยาศาสตร์

ตอนที่สอง : Scientific Realism

ตอนที่สาม : Scientific Instrumentalism

ตอนที่สี่ : Scientific Progress

ตอนที่ห้า : วิทยาศาสตร์กับโหราศาสตร์

ตอนที่หก : เวลาและอวกาศ (๑)

ตอนที่เจ็ด : เวลาและอวกาศ (๒)

ตอนที่แปด : เวลาและอวกาศ (๓)

ตอนที่เก้า : อิทธิพลของชาร์ลส์ ดาร์วิน ต่อปรัชญาและศาสนา

ตอนที่สิบ : ชีววิทยากับศาสนา

ตอนที่สิบเอ็ด : ปัญหาปรัชญาจากควอนตัมฟิสิกส์

ตอนที่สิบสอง : ปรัชญาวิทยาศาสตร์บางเรื่อง

 

 

Description: 2018-06-26 12

การบรรยายวิชาพระพุทธศาสนากับศาสตร์แห่งการตีความ

โดย ศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา

 

-ภาคการศึกษาต้น ๒๕๖๑-

 

ตอนที่หนึ่ง : Hermeneutics คืออะไร

ตอนที่สอง : พระไตรปิฎกควรอ่านในฐานะหนังสืออะไร (๑)

ตอนที่สาม : พระไตรปิฎกควรอ่านในฐานะหนังสืออะไร (๒)

ตอนที่สี่ : เราควรวางตัวเกี่ยวกับศรัทธาในทางศาสนาอย่างไร

ตอนที่ห้า : ทฤษฎีภาษาคน-ภาษาธรรมของท่านพุทธทาส

ตอนที่หก : อภิธรรมในฐานะเครื่องมือเข้าใจพุทธธรรม

ตอนที่เจ็ด : อ่านมิลินทปัญหา (ตอนที่ ๑)

ตอนที่แปด : อ่านมิลินทปัญหา (ตอนที่ ๒)

ตอนที่เก้า : อ่านมิลินทปัญหา (ตอนที่ ๓)

ตอนที่สิบ : อ่านมิลินทปัญหา (ตอนที่ ๔)

ตอนที่สิบเอ็ด : อ่านมิลินทปัญหา (ตอนที่ ๕)

ตอนที่สิบสอง : อ่านมิลินทปัญหา (ตอนที่ ๖ การให้ทานของพระเวสสันดร)

ตอนที่สิบสาม : อ่านมิลินทปัญหา (ตอนที่ ๗)

ตอนที่สิบสี่ : อ่านหนังสือกรณีธรรมกายของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

 

-ภาคการศึกษาปลาย ๒๕๖๓-

 

ตอนที่สิบห้า : Hermeneutic Realism (1)

ตอนที่สิบหก: Hermeneutic Realism (2)

ตอนที่สิบเจ็ด: Hermeneutic Instrumentalism

 

 

Description: 2018-06-28 18

การบรรยายวิชานิติปรัชญา

โดย ศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา

ภาคการศึกษาต้น ๒๕๖๑

 

ตอนที่หนึ่ง : นิติปรัชญาคืออะไร

ตอนที่สอง : สำนักกฎหมายธรรมชาติ (ตอนที่ ๑)

ตอนที่สาม : สำนักกฎหมายธรรมชาติ (ตอนที่ ๒) กฎหมายกับศีลธรรม

ตอนที่สี่ : สำนักกฎหมายบ้านเมือง (ตอนที่ ๑) ทฤษฎีกฎหมายบริสุทธิ์ของ Hans Kelsen

ตอนที่ห้า : สำนักกฎหมายบ้านเมือง (ตอนที่ ๒) กฎหมายกับศีลธรรม

ตอนที่หก : กฎหมายกับความยุติธรรม

ตอนที่เจ็ด : จำเป็นต้องมีศาสนาประจำชาติหรือไม่

ตอนที่แปด : รัฐกับศาสนา (ตอนที่ ๑)

ตอนที่เก้า : รัฐกับศาสนา (ตอนที่ ๒)

ตอนที่สิบ : ประวัติศาสตร์กับกฎหมาย

 

 

การบรรยายวิชาอภิปรัชญาวิเคราะห์

โดย ศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา

ภาคการศึกษาต้น ๒๕๖๑, ๒๕๖๒

 

-พ.ศ. ๒๕๖๑-

ตอนที่หนึ่ง : ปัญหาเรื่องกายและจิตในมนุษย์

ตอนที่สอง : จิตคือสมองใช่หรือไม่

ตอนที่สาม : เครื่องจักรจะครองโลกได้หรือไม่

ตอนที่สี่ : พุทธปรัชญากับปัญญาประดิษฐ์

ตอนที่ห้า : มีใครออกแบบจักรวาลหรือไม่

ตอนที่หก : มนุษย์เลือกทำสิ่งต่างๆได้อย่างอิสระหรือไม่

ตอนที่เจ็ด : แก่นสารของชีวิตและสิ่งต่างๆ

 

-พ.ศ. ๒๕๖๒-

ตอนที่แปด : อภิปรัชญาของเพลโต

ตอนที่เก้า : อภิปรัชญาของอาริสโตเติล

ตอนที่สิบ : ข้อพิสูจน์ว่าต้องมีพระเจ้าห้าข้อของทอมัส อะไควนัส

ตอนที่สิบเอ็ด : อภิปรัชญาของเดส์การ์ตส์

ตอนที่สิบสอง : อภิปรัชญาของพระพุทธเจ้า

 

 

 

การบรรยายวิชาปรัชญาปรากฏการณ์วิทยาและอัตถิภาวนิยม

โดย ศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา

ภาคการศึกษาปลาย ๒๕๖๑-๒๕๖๒

 

-พ.ศ. ๒๕๖๑-

ตอนที่หนึ่ง : ปรากฏการณ์วิทยาคืออะไร

ตอนที่สอง : การวางรากฐานปรากฏการณ์วิทยา โดย ฟรานซ์ เบรนทาโน

ตอนที่สาม : ปรากฏการณ์วิทยาของแมร์โล-ปองตี

ตอนที่สี่ : ปรากฏการณ์วิทยาของฮุสเซิร์ล

ตอนที่ห้า : Existentialism ของ Kierkegaard

ตอนที่หก : Existentialism ของ Nietzsche

ตอนที่เจ็ด : Existentialism ของ Dostoyevsky

ตอนที่แปด : Existentialism ของ Heidegger

ตอนที่เก้า : Existentialism ของ Jean-Paul Sartre

ตอนที่สิบ : Existentialism ของ Albert Camus

ตอนที่สิบเอ็ด : สุนทรียศาสตร์ ศิลปะ และพุทธปรัชญา

 

-พ.ศ. ๒๕๖๒-

ตอนที่สิบสอง : ความรู้กับความเชื่อในทัศนะนักปรัชญาปรากฏการณ์นิยม

ตอนที่สิบสาม : ปรากฏการณ์วิทยากับการสังเกตชีวิต

ตอนที่สิบสี่ : ชีวิตกับความว่างเปล่า

ตอนที่สิบห้า : การอ่านคัมภีร์พุทธศาสนาในเชิงอัตถิภาวนิยม (๑)

ตอนที่สิบหก : การอ่านคัมภีร์พุทธศาสนาในเชิงอัตถิภาวนิยม (๒)

 

 

 

การบรรยายวิชาปรัชญาภาษา

โดย ศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา

ภาคการศึกษาปลาย ๒๕๖๑-๒๕๖๒

 

-พ.ศ. ๒๕๖๑-

ตอนที่หนึ่ง : ปรัชญาภาษาของจอห์น ล็อค

ตอนที่สอง : ปรัชญาภาษาของ A.J. Ayer (ตอนที่หนึ่ง)

ตอนที่สาม : ปรัชญาภาษาของ A.J. Ayer (ตอนที่สอง)

ตอนที่สี่ : อ่าน Two Dogmas of Empiricism ของ Quine

ตอนที่ห้า : อภิปรัชญาที่มีความหมาย ข้อคิดจาก Einstein และ Spinoza

ตอนที่หก : แนวคิดเรื่อง “จริงหมายถึงใช้ประโยชน์ได้” ของ วิลเลียม เจมส์

ตอนที่เจ็ด : Naturalistic Pragmatism ของพระพุทธเจ้า

ตอนที่แปด : ควรใช้อุปมาอุปไมยหรือไม่

ตอนที่เก้า : ความจริงสี่แบบ

ตอนที่สิบ : การตีความ (ตอนที่ ๑)

ตอนที่สิบเอ็ด : การตีความ (ตอนที่ ๒)

ตอนที่สิบสอง : การตีความ (ตอนที่ ๓)

ตอนที่สิบสาม : ผมฝึกพูดและเขียนอย่างไร

 

-พ.ศ. ๒๕๖๒-

ตอนที่สิบสี่ : ภาษาคืออะไร

ตอนที่สิบห้า : คำหยาบในปรัชญาภาษาของพระพุทธเจ้า

ตอนที่สิบหก : คำเพ้อเจ้อในปรัชญาภาษาของพระพุทธเจ้า

ตอนที่สิบเจ็ด : เมื่อการพูดเท็จเป็นความดี

 

 

การบรรยายวิชาสัมมนาปรัชญาจีน

โดย ศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา

ภาคการศึกษาต้น ๒๕๖๒

(หมายเหตุ : การบรรยายเทอมนี้ได้ออกแบบให้ต่างจากการบรรยายเมื่อปีที่แล้ว เนื่องจากเห็นว่าไม่ควรบรรยายซ้ำการบรรยายที่บันทึกเสียงไว้แล้ว นิสิตและท่านที่สนใจสามารถค้นคำบรรยายของวิชานี้ในยูทูบได้ การบรรยายในปีต่อไปก็จะไม่เหมือนเดิม เนื่องจากได้อัดเสียงไว้แล้ว นานไป เราจะมีองค์ความรู้ในวิชานี้เพิ่มขึ้นตามลำดับ)

 

เรื่องที่หนึ่ง : จริยศาสตร์และสุนทรียศาสตร์ของเต๋า

เรื่องที่สอง : ปรัชญาการเมืองของเต๋า

เรื่องที่สาม : คนกับระบบในปรัชญาการเมืองของขงจื๊อ

เรื่องที่สี่ : จริยศาสตร์ของขงจื๊อ

 

การบรรยายวิชาสัมมนาปรัชญาอินเดีย

โดย ศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา

ภาคการศึกษาต้น ๒๕๖๒

(หมายเหตุ : การบรรยายเทอมนี้ได้ออกแบบให้ต่างจากการบรรยายเมื่อปีที่แล้ว เนื่องจากเห็นว่าไม่ควรบรรยายซ้ำการบรรยายที่บันทึกเสียงไว้แล้ว นิสิตและท่านที่สนใจสามารถค้นคำบรรยายของวิชานี้ในยูทูบได้ การบรรยายในปีต่อไปก็จะไม่เหมือนเดิม เนื่องจากได้อัดเสียงไว้แล้ว นานไป เราจะมีองค์ความรู้ในวิชานี้เพิ่มขึ้นตามลำดับ)

 

เรื่องที่หนึ่ง : วิญญาณ จิต อาตมัน

เรื่องที่สอง : คณิตศาสตร์กับศาสนาฮินดู

เรื่องที่สาม : ลัทธิทรมานตนของศาสนาเชน

เรื่องที่สี่ : กรรมตามทัศนะของศาสนาเชน

 

 

 

การบรรยายวิชาสุนทรียศาสตร์

โดย ศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา

ภาคการศึกษาต้น ๒๕๖๒

(วิชานี้มีอาจารย์สอนสองคน เนื้อหาที่เอามาลงนี้เป็นส่วนที่ผมรับผิดชอบ)

 

ตอนที่หนึ่ง : ความงามทางสุนทรียศาสตร์คืออะไร

ตอนที่สอง : ปรัชญาศิลปะของตอลสตอย

ตอนที่สาม : ทฤษฎีศิลปะของ R. G. Collingwood

ตอนที่สี่ : สุนทรียศาสตร์ของ Benedetto Croce

 

การบรรยายวิชาพุทธศาสนากับวิทยาการสมัยใหม่

โดย ศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา

ภาคการศึกษาปลาย ๒๕๖๒

 

ตอนที่หนึ่ง : เกริ่นนำ

ตอนที่สอง : พุทธศาสนากับชีววิทยา

ตอนที่สาม : พุทธศาสนากับปัญหาความขัดแย้งทางศีลธรรม

ตอนที่สี่ : ทฤษฎีสัมพัทธภาพของไอน์สไตน์สำหรับนิสิตชาวพุทธ

ตอนที่ห้า : การประยุกต์ใช้ทฤษฎีความจริงสามแบบสำหรับจัดระบบคำสอนของพุทธศาสนา (๑)

ตอนที่หก : การประยุกต์ใช้ทฤษฎีความจริงสามแบบสำหรับจัดระบบคำสอนของพุทธศาสนา (๒)

ตอนที่เจ็ด : การประยุกต์ใช้ทฤษฎีความจริงสามแบบสำหรับจัดระบบคำสอนของพุทธศาสนา (๓)

 

 

การบรรยายวิชาปรัชญาการศึกษา

โดย ศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา

ภาคการศึกษาปลาย ๒๕๖๒

 

ตอนที่หนึ่ง : เกริ่นนำ

ตอนที่สอง : ธรรมชาตินิยมทางการศึกษา

ตอนที่สาม : การศึกษาคือการฝึกหัดขัดเกลา

ตอนที่สี่ : ตอลสตอยกับแนวคิดเรื่องความเป็นธรรมทางการศึกษา

ตอนที่ห้า : จอห์น ดิวอี้ และแนวคิดเรื่องประชาธิปไตยกับการศึกษา

 

 

 

การบรรยายพิเศษวิชาพระพุทธศาสนามหายาน

โดย ศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา

ภาคการศึกษาต้น ๒๕๖๒

(หมายเหตุ : การบรรยายนี้เป็นการบรรยายร่วมกับอาจารย์อีกท่านหนึ่ง โดยแยกเป็นสองส่วน ส่วนที่ผมรับผิดชอบจะเน้นการทำความเข้าใจมหายานในเชิงปรัชญา ส่วนที่อาจารย์อีกท่านหนึ่งรับผิดชอบเน้นทางสังคมวิทยาและหลักธรรม ที่เอามาลงนี้เฉพาะในส่วนที่ผมรับผิดชอบ)

 

ตอนที่หนึ่ง

ตอนที่สอง

ตอนที่สาม

 

 

 

การบรรยายพิเศษ

โดย ศาสตราจารย์ ดร. สมภาร พรมทา

ภาคการศึกษาปลาย ๒๕๖๑

(การบรรยายในหมวดนี้เป็นการบรรยายนอกวิชาที่สอนประจำ ทั้งในและนอกมหาวิทยาลัย)

 

เรื่องที่หนึ่ง : ความแตกต่างทางปรัชญาระหว่างเถรวาทและมหายาน

เรื่องที่สอง : การเขียนงานทางปรัชญา

เรื่องที่สาม : พุทธปรัชญากับโทษประหารชีวิต

เรื่องที่สี่ : สันติศึกษากับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

เรื่องที่ห้า : ชีวิตไม่มีศาสนาได้ไหม

เรื่องที่หก : ชีวิตกับความว่างเปล่า

เรื่องที่เจ็ด : ทำไมต้องวิจัยพุทธศาสนา

เรื่องที่แปด : ถ้าการปฏิบัติขัดแย้งกับคัมภีร์ เราจะเลือกอะไร

เรื่องที่เก้า : การศึกษาพุทธศาสนาเชิงปรัชญาสองแบบ

เรื่องที่สิบ : ปฏิบัตินิยมทางศาสนา

เรื่องที่สิบเอ็ด : พหุวัฒนธรรมในสังคมไทย (ศาสนา ปรัชญา และภาษา)

 

 

Description: 2018-06-26 15

 

ณ ฝั่งนทีที่เคลื่อนไหล

(งานเขียนสะท้อนความคิด

เกี่ยวกับโลก ชีวิต ปรัชญา ศาสนา ศิลปะ เป็นต้น)

สมภาร พรมทา

(ข้อเขียนในหมวดนี้เรียงลำดับก่อนหลังตามเวลาที่เขียน เขียนก่อนจะอยู่ด้านบน)

 

แนวคิดเรื่องเทวะในพุทธปรัชญา

ชีวิตกับความยุติธรรม

คุกแห่งภาษา

ภาษาดีคืออย่างไร

ชีวิตที่ว่างเปล่าของวิทยา

เพลงจิตร ภูมิศักดิ์ กลางดึก และสายฝนพรำ

หนังสือสามเล่มของผมกับอาจารย์ปรีชา ช้างขวัญยืน

Answers the Monk’s Questions

ข้อคิดเรื่องการเรียนภาษาบาลีเพื่อสร้างนักคิด

การเมืองจากมุมมองของโลกส่วนตัวผม

A Simple and a Deep Tool

Some Basic Understandings of the Philosophy of Science

For Nursing Science Students

Positive and Negative Sides of the Human Life

Philosophy of Science: Some Topics

 Western and Eastern Philosophy: Some Reflection

 

 

 

คุยกันเรื่องปรัชญา

(ข้อเขียนในหมวดนี้ ผมเขียนเพื่อให้ลูกศิษย์ผมอ่านประกอบการเรียน

แต่การเขียนพยายามทำให้ง่าย

เพื่อให้ท่านผู้อ่านที่เป็นชาวบ้านธรรมดา นอกมหาวิทยาลัยได้อ่านด้วย

จะเป็นบทความต่อเนื่อง ตามประเด็นปัญหาที่เราเรียนกันอยู่ในแต่ละช่วง)

 

โลกและภาษา

A Buddhist-inspired Theory of Critical Reading

What is the Writing of a Thesis in Philosophy

ข้อเสนอเพื่อให้ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาแห่งมิตรภาพ